Q.1
ชื่อ
ชื่อ
สกุล
Q.2
ชั้น เลขที่
ชั้น
เลขที่
Q.3
ข้อใดจัดเป็นภูมิปัญญาทางภาษา
ประเพณีการฟังเทศน์มหาชาติ
ประเพณีสงกรานต์
ประเพณีลอยกระทง
ประเพณีแข่งเรือ
Q.4
วรรณกรรมแบบมุขปาฐะ หมายถึงข้อใด
วรรณกรรมที่เป็นการสร้างสรรค์ของชาวบ้าน
วรรณกรรมที่เป็นงานสร้างสรรค์ของราชสำนัก
วรรณกรรมที่ถ่ายทอดด้วยวิธีเล่าปากต่อปาก
วรรณกรรมที่ถ่ายทอดด้วยลายลักษณ์อักษร
Q.5
เพลงอื่อๆจาๆ เป็นเพลงกล่อมเด็กของภาคใด
ภาคเหนือ
ภาคอีสาน
ภาคใต้
ภาคกลาง
Q.6
"คำอัพภาส" เป็นศิลปะการใช้ถ้อยคำในลักษณะใด
การเล่นคำซ้ำ
การกร่อนเสียงของคำ
การใช้เสียงธรรมชาติ
การใช้คำซ้อน
Q.7
ฉันทลักษณ์ท้องถิ่น ที่นิยมใช้ในภาคใต้คือข้อใด
กาพย์
กลอน
โคลง
ฉันท์
Q.8
การขับเสภา เป็นวรรณกรรมพื้นบ้านของภาคใด
ภาคกลาง
ภาคใต้
ภาคอีสาน
ภาคเหนือ
Q.9
ในการบันทึกวรรณกรรมที่เป็นเรื่องราวทางศาสนาของภาคใต้ นิยมใช้ตัวอักษรชนิดใด
อักษรขอม
อักษรไทยภาคกลาง
อักษรตัวธรรม
อักษรยาวี
Q.10
"ข้าวบิณฑ์" หมายถึงข้อใด
ข้าวตอกปั้นเป็นรูปทรงคล้ายดอกบัวตูม
ข้าวเหนียวมูลที่นำไปถวายพระ
ขนมหวานใส่กระทงใบตองที่นำไปทำบุญ
ข้าวหลามที่นำไปทำบุญกับพระ
Q.11
"เพลงจับปูดำ" เป็นเพลงพื้นบ้านประเภทใด
เพลงปลอบเด็ก
เพลงกล่อมเด็ก
เพลงร้องเล่น
เพลงประกอบการละเล่น
Q.12
"เพลงเหย่อย" เป็นเพลงพื้นบ้านของภาคใด
ภาคอีสาน
ภาคใต้
ภาคกลาง
ภาคเหนือ
Q.13
ข้อใดจัดอยู่ในประเภท นิทานปรัมปรา
ไกรทอง
ปู่โสมเฝ้าทรัพย์
ปลาบู่ทอง
สมเด็จเจ้าแตงโม
Q.14
เรื่องศรีธนญชัย จัดเป็นนิทานท้องถิ่นประเภทใด
นิทานตลกขบขัน
นิทานวีรบุรุษ
นิทานคติสอนใจ
นิทานอธิบายเหตุ
Q.15
ข้อใดเป็นตำนานของภาคอีสาน
ตำนานเมืองลับแล
ท้าวผาแดงนางไอ่
วังบัวบาน
เขาตาม่องล่าย
Q.16
"ลานนางคอย" เป็นตำนานของจังหวัดใด
แพร่
พะเยา
น่าน
เชียงราย
Q.17
วรรณกรรมข้อใด ไม่เข้าพวก
เพลงบอก
เพลงเรือ
เพลงพิษฐาน
เพลงพวงมาลัย