Q.1
ชื่อ - สกุล
ชื่อ
สกุล
Q.2
ชั้น - เลขที่
ชั้น
เลขที่
Q.3
ผู้แต่งนิทานเวตาลคือผู้ใด
รัชกาลที่ 2
เจ้าพระยาพระคลัง (หน)
กรมหมื่นพิทยาลงกรณ
กรมพระปรมานุชิตชิโนรส
Q.4
นิทานเวตาลมีลักษณะพิเศษตามข้อใด
เป็นนิทานซ้อนนิทาน
เป็นนิทานที่ได้รับอิทธิพลจากตะวันตก
เป็นนิทานพื้นบ้านไทย
เป็นนิทานอาเซียน
Q.5
นิทานเวตาล (เวตาลปัญจวิงศติ) มีที่มาจากชาติใด
กัมพูชา
ชวา
อินเดีย
อังกฤษ
Q.6
นิทานเวตาล ตามต้นฉบับเดิม มีทั้งหมดกี่เรื่อง
15 เรื่อง
20 เรื่อง
25 เรื่อง
10 เรื่อง
Q.7
ข้อใด ไม่ใช่ ลักษณะของเวตาล
สูงประมาณ 2-3 ฟุต
รูปร่างคล้ายค้างคาว
มีจมูกเหมือนปากเหยี่ยว
หัวล้าน
Q.8
ผู้ที่เดินทางไปจับเวตาลที่ป่าช้าคือใคร
ศิวทาส
โยคีศานติศีล
ท้าวมหาพล
พระวิกรมาทิตย์
Q.9
การทำสัญญาแบ่งนางในนิทานเวตาลตอนที่ปรากฏในบทเรียน ใช้สิ่งใดเป็นเครื่องตัดสิน
อายุ
รอยเท้า
ความสูง
ความสวย
Q.10
ข้อใดเป็นความเชื่อตามคติของคนไทย
"ข้าพเจ้าให้เกิดกระเหม่นตาซ้าย หัวใจเต้นแรง แลตาก็มืดมัว"
"ข้าศึกมีกำลังมากแลชำนาญในการศึก ใช้ทั้งทองคำแลเหล็กเป็นอาวุธ"
"ลิ้นนั้นตัดคอคนเสียมากต่อมากแล้ว"
"ความสุขแห่งพ่อบ้านซึ่งอยู่โดดเดี่ยวนั้นมีไม่ได้ในบ้าน แลมีไม่ได้นอกบ้าน"
Q.11
"โกรศ" มีค่าเท่ากับเท่าใด
1,000 คันธนู
1,500 คันธนู
500 คันธนู
800 คันธนู
Q.12
"เครื่องประหลาด" ในเนื้อเรื่องหมายความตามข้อใด
ชายผู้ไม่ใช่คนโง่ไม่ยอมคืนสู่เรือนซึ่งไม่มีนางที่รักผู้มีรูปงามคอยรับรอ
พระราชมารดาและพระธิดามีหน้าตาอ่อนเยาว์เหมือนพี่กับน้อง
ครั้งนี้ข้าพเจ้าให้เกิดกระเหม่นตาซ้าย หัวใจเต้นแรง แลตาก็มืดมัว
เวตาลมีขาสั้น ท้องพลุ้ย ชอบสิงอยู่ตามซากศพ
Q.13
ข้อใด ไม่ใช่ ข้อคิดที่ได้รับจากเรื่องนิทานเวตาล เรื่องที่ 10
ควรใช้สติและปัญญาตัดสินเรื่องต่างๆ
การระมัดระวังในคำพูดของตนเอง
ความไม่ประมาท
ความสุขของครอบครัวคือต้องมีแม่เรือนที่รูปงาม.
Q.14
สำนวนภาษาที่ใช้ในการนิพนธ์เรื่องนิทานเวตาล มีลักษณะอย่างไร
มีการพรรณนาความอย่างละเอียดลึกซึ้ง
ใช้ภาษาง่ายๆ แต่มีชีวิตชีวา ชัดเจน
มีการใช้โวหารภาพพจน์หลากหลายประเภท
ใช้คำอย่างอลังการ มักใช้คำศัพท์ยาก
Q.15
ผู้นิพนธ์ทรงเป็นต้นราชสกุลใด
รัชนี
ดารากร
เทพหัสดิน
กุญชร
Q.16
ผู้นิพนธ์เรื่องนิทานเวตาลฉบับในบทเรียน ใช้นามปากกาว่าอย่างไร
ก.ป.ช.
น.ม.ส.
จ.พ.ห.
ก.พ.ล.
Q.17
ผู้นิพนธ์ ได้รับการยกย่องตามข้อใด
บิดาแห่งสหกรณ์ไทย
บิดาแห่งประวัติศาสตร์ไทย
บิดาแห่งวรรณคดีไทย
บิดาแห่งกฎหมายไทย